ผลจาการเลือกตั้งที่กลายเป็นประวัติศาสตร์การเมืองหน้าใหม่ของการเลือกตั้งผู้ว่าในกรุงเทพ
ที่คนพร้อมใจกันเทคะแนนเสียงให้อาจารย์ชัชชาติ แบบถล่มทลายที่คะแนนหนึ่งล้านสามแสนกว่า
คะแนนนั้นสะท้อนว่าสิ่งที่อาจารย์ชัชชาตินำเสนอนั้นโดนใจกลุ่มเป้าหมายอย่างไม่ต้องสงสัย
แล้วมีอะไรบ้างที่เราสามารถวิเคราะห์ได้ในมุมมองเรื่องแบรนด์ของความเป็นตัวตนและจิตวิญญาณแบรนด์
เริ่มต้นจากการเข้าอกเข้าใจและออกแบบนโยบายแบบราย Segment
สำหรับแบรนด์การเมืองนโยบาย (Policy) เปรียบเสมือน Product ที่สำคัญทางการเมือง ดังนั้นกลยุทธ์การออก Product หรือ Policy ทางการเมืองนั้นว่าไปแล้ว กลยุทธ์ของ อ.ชัชชาติ มีการใช้กลยุทธ์การตลาดแบบเจาะราย Segment ที่มีการออกนโยบายรายเขตทำให้ผู้ฟังการปราศัยหาเสียงจะรู้สึกว่าคุยกับฉันอยู่และทำให้รู้สึกถึงความเข้าอกเข้าใจตัวฉัน หรือในภาษาการสร้างแบรนด์เรียกว่า Brand Relevant และที่สำคัญจะรู้สึกถึงคำว่าโดนใจฉันในที่สุดนั่นเอง
องค์ประกอบใดบ้างที่ส่งผลต่อความสำเร็จ “แบรนด์ ชัชชาติ” ทำไมถึงโดนใจคนเมืองกรุง ! แบบแลนด์สไลด์มาติดตามบทวิเคราะห์เพื่อสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ได้เลยครับ
- ประวัติศาสตร์หน้าใหม่แบรนด์การเมืองไทย
ส่องจิตวิญญาณตัวตน “แบรนด์ ชัชชาติ”
ทำไมถึงโดนใจคนเมืองกรุง !
- วิสัยทัศน์แบรนด์ ชัชชาติ BRAND VISION
“กรุงเทพฯ เป็นเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน” โดย ชัชชาติ สิทธิพันธุ์
- คะแนนประวัติศาสตร์หน้าใหม่สูงกว่ารองถึง 5 เท่า
- คะแนนประวัติศาสตร์หน้าใหม่แบบชนะทุกเขต
- คะแนนประวัติศาสตร์จากฐานคนรุ่นใหม่
- ปัจจัยความสำเร็จที่ 1 : กลยุทธ์นโยบายรายกลุ่มหรือ BRAND Segmentation
นโยบายรายเขต 50 เขต
นโยบายคือ Product ที่สำคัญทางการเมืองดังนั้นกลยุทธ์การออก product หรือ Policy ทางการเมืองนั้นว่าไปแล้ว กลยุทธ์ของ อ.ชัชชาติ มีการใช้กลยุทธ์การตลาดแบบเจาะราย Segment ที่มีการออกนโยบายรายเขตทำให้ผู้ฟังการปราศัยหาเสียงจะรู้สึกว่าคุยกับฉันอยู่ และทำให้รู้สึกถึงความเข้าอกเข้าใจตัวฉัน (Brand Relevant) และที่สำคัญจะรู้สึกถึงคำว่าโดนใจในที่สุดนั่นเอง
- กรุงเทพ 9 ดี หรือ นโยบาย 9 มิติ
โจทย์หลักที่ใช้ในการออกแบบนโยบาย คือ
“กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน” โดยการศึกษาและดัดแปลงจากดัชนีวัดเมืองน่าอยู่ The Global Liveability Index ของ EIU (Economist Intelligence Unit) สู่การเป็น 214 นโยบาย
ปัจจัยความสำเร็จที่ 2 : กลยุทธ์ Internal Brand (TEAM)
ปัจจัยความสำเร็จที่ 3 : กลยุทธ์สร้าง BRAND ENAGAGEMENT
- ให้ประชาชน ร่วมเป็นหนึ่งในทีม
สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงข้อมูลในการรับฟังเสียงประชาชนผ่าน application “Traffy Fondue” ควบคู่กันนี้ยังมีประชาชนรายงานปัญหาในพื้นที่ผ่านไลน์ “เพื่อนชัชชาติ”
การใช้เทคโนโลยี AI CHAT BOT เพื่อรับฟังเสียงของ ประชาชน
สร้างเครือข่าย
หาร้านกาแฟ ร้านขนม ร้านอาหาร หรือชุมชน ที่สนใจ มาเป็นเครือข่ายของ “สภากาแฟเพื่อนชัชชาติ“ เพื่อสร้างศูนย์ประสานงานเพื่อนชัชชาติตามเขตต่างๆ เพื่อเอาไว้ประสานงาน รวบรวมปัญหา ถือเป็นนวัตกรรมการหาเสียงที่สร้าง People Engagement แบบเรียบง่าย
- ให้ประชาชน ร่วมเป็นหนึ่งในทีม
ปัจจัยความสำเร็จที่ 4 : กลยุทธ์สร้างคุณค่าแห่งจิตวิญญาณตัวตน
ปัจจัยความสำเร็จที่ 5 : กลยุทธ์การสร้าง Brand touchpoints ที่แตกต่าง
Image : มีภาพลักษณที่ดูแข็งแรง สุขภาพดี เข้าถึงคนง่าย ดูสนุกสนาน ขยันทำงาน ปรับตัวได้ง่ายและมีพลังบวก
- ป้ายรีไซเคิลและไม่บดบัง : มีการคิดในการออกแบบป้ายหาเสียงมากขึ้น โดยทำขนาดเล็กลงเพื่อเพิ่มขนาดทางเดินเท้า ใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้
Key Message : ใช้ประโยคสั้นๆ ให้เข้าคนเข้าใจได้ง่าย สื่อสารได้ครอบคลุม และเป็นคำที่ผลักดันคนกรุงเทพฯ มาร่วมพัฒนาเมืองไปด้วยกัน
Key Visual : เน้นใช้ Content ที่ Creative สร้างสรรค์ ตามเทรนด์ โดยการใช้ภาพการ์ตูนสื่อความหมายให้คนอ่านเข้าถึง เข้าใจได้ง่าย และตอบสนองต่อทุกช่วงอายุ
- Activity สีเขียว : เน้นการทำตามนโยบายให้เห็นเป็นแบบอย่าง โดยหาเสียงแบบรักเมือง เช่น การใช้รถ EV ในการหาเสียง การขี่จักร และการออกกำลังกาย
Website : มีการออกแบบเว็บไซต์ให้ดูทันสมัย เลือกประเด็นสำคัญมาเป็นเมนูหลัก และมีการออกแบบหน้าเว็บไวต์ให้ใช้งานได้ง่าย
Roadshow แบบเข้าถึง
การปราศรัยโดยการเข้าหาประชาชน
การประกาศลงในนามอิสระ
- ส่งเสียงเพื่ออยากให้ประเทศเปลี่ยนแปลง
Digital media แบบเข้าถึงสร้างความมีส่วนร่วม
Speech คำปราศัยหลังได้เป็นผู้ว่า (ยังไม่เป็นทางการ)